บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2018

https://www.gravitechthai.com/guru2.php?p=276

รูปภาพ
Arduino startup kit บทที่ 8: Analog to Digital      คราวนี้เราจะมาทำความรู้จักกับการอ่านค่าสัญญาณ Analog ของ Arduino Nano         สัญญาณ Analog เป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่องขนาดของสัญญาณเปลี่ยนแปลงตามเวลา ต่างจากสัญญาณแบบ digital ที่มีแค่  0 กับ 1 เท่านั้น ใน Arduino Nano ของเรานั้นมี PIN สำหรับอ่านค่าสัญญาณ Analog อยู่ทั้งหมด 8 pin ครับ โดยการอ่านค่า analog ของ Arduino Nano จะแปลงค่าที่อ่านได้เป็นค่า digital แบบ 10 บิต หรือมีค่าเป็นจำนวนเต็มคือ 0 ถึง 1023          วงจรแบ่งแรงดัน (Voltage Divider)      ในการเรียนรู้เรื่อง Analog เพื่อความเข้าใจและเพื่อทำให้สามารถนำไปประยุกต์ใมช้ได้หลาก หลายเราจำเป็นต้องรู้ในเรื่องของวงจรแบ่งแรงดัน โดยเป็นวงจรที่มีประโยชน์ครับ เริ่มจากถ้าเรา นำตัวต้านทานสองตัวมาต่ออนุกรมกัน แล้วป้อนแรงดัน (Vin) ให้กับตัวต้านทานสองตัวนั้น ค่าแรงดันที่ออกมาจากวงจรนี้ (Vout) จะมีค่าเป็นไปตามสมการด้านล่าง            อธิบายง่ายๆคือ วงจรแบ่งแรงดัน สามารถแบ่งแรงดันให้ลดน้อยลงได้ โดยแรงดันที่ลดลง จะเป็นสัดส่วนเท่ากับค่าคว

https://www.gravitechthai.com/guru2.php?p=262

รูปภาพ
Arduino Startup kit บทที่ 5 : แสงสว่าง ในบทนี้เป็นการทดลองต่อวงจรและการเขียนโปรแกรมควบคุม LED      การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการติด-ดับของหลอดไฟ LED ถือเป็นการเขียนโปรแกรมบน Arduino Nano ที่ง่ายที่สุด ทำให้ผู้ที่ไม่เคยเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาก่อนก็สามารถทำความเข้าใจได้ไม่ยาก อีกทั้งยังเป็นการเรียนรู้การต่อวงจรอิเล็คทรอนิกส์เบื้องต้นไปพร้อมกันด้วย LED คืออะไร ?      จากที่ได้แนะนำอุปกรณ์ที่อยู่ในชุด Arduino Startup kit กันไปแล้วในบทที่ 1 คราวนี้เรามาทำความรู้จักกับ LED ในดียิ่งขึ้นกันดีกว่า LED นั่นคืออุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ให้แสงสว่างออกมาเมื่อเราจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับมัน LED ใช้สำหรับแจ้งเตือนสถานะต่างๆบนบอร์อิเล็คทรอนิกส์ ที่เราพบเห็นได้ทั่วไปเช่นใช้บอกสถานะว่าอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นกำลังทำงานอยู่ หรือบอกว่าโทรศัพท์มือของเราแบตเตอรี่กำลังจะหมด นอกจากนั้นแล้ว LED ยังสามารถใช้เพื่อเป็นแหล่งให้แสงสว่างในชีวิตประจำวันได้อีกด้วย ด้วยความที่  LED นั้นใช้พลังงานน้อยกว่าหลอดไฟประเภทอื่น ทำให้เริ่มมีคนหันมาใช้ LED แทนที่หลอดไฟเดิมที่ใช้กันอยู่ในบ

http://www.myarduino.net/article/6/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A-arduino-c-%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87

รูปภาพ
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นกับ Arduino C++ (ไฟวิ่ง) เมื่อ  3 ปีที่ผ่านมา โดย  เจ้าของร้าน บทความตอนนี้จะเป็นการทดลองเขียนไฟวิ่ง 4 ดวงกันครับ โดยจะกำหนดขาใช้งาน ที่จะต่อกับ LED ดังนี้ คือ  ขา Digital pin 2 จะต่อกับ LED 1  ขา Digital pin 3 จะต่อกับ LED 2  ขา Digital pin 4 จะต่อกับ LED 3  ขา Digital pin 5 จะต่อกับ LED 4  โดยการทำงานในตอนนี้จะไห้วิ่งแบบเรียงลำดับกันไป จาก LED 1 ไปถึง LED 4 ครับ  คำสั่งกำหนดสถานะของpin HIGH หรือ LOW digitalWrite(pinของ Arduino,สถานะมี HIGH และ LOW);  สำหรับการเขียน code คงจะไม่ใช้เรื่องยากอะไร คงจะใช้คำสั่งเดิมๆจากบทความตอนที่แล้วๆมาใช้กันครับ  int led1 = 2; // กำหนดขาใช้งาน  int led2 = 3;  int led3 = 4;  int led4 = 5;  void setup()  {  pinMode(led1, OUTPUT); // กำหนดขาทำหน้าที่ OUTPUT  pinMode(led2, OUTPUT);  pinMode(led3, OUTPUT);  pinMode(led4, OUTPUT);  }  void loop()  {  digitalWrite(led1,HIGH); // ไฟ LED 1 ติด 500 ms  delay(500);  digitalWrite(led1,LOW); // ไฟ LED 1 ดับ500 ms  delay(500);  digitalWrite(led2,HIGH

http://commandronestore.com/learning/arduino002.php

รูปภาพ
บอร์ด Arduino มี Digital I/O PINs สำหรับใช้งาน ซึ่งคำว่า I/O หมายถึง Input และ Output นั่นหมายความว่า นอกจาก Pins เหล่านี้จะสามารถเป็น Output เพื่อไปควบคุมอุปกรณ์ต่างๆได้แล้ว มันยังสามารถใช้เป็นตัว Input หรือตัวรับสัญญาณทางไฟฟ้าต่างๆ เพื่อใช้ควบคุมการทำงานของวงจรได้อีกด้วย  Digital คืออะไร  ทุกคนคงรู้จักคำว่า Digital ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสัญญาณทางไฟฟ้าประเภทหนึ่งที่มีค่าการทำงาน 2 ค่า คือ 1 และ 0 ซึ่ง 1 หมายถึง on (HIGH) และ 0 หมายถึง off (LOW) สัญญาณดิจิตอลนั้นสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากมายและมีความแม่นยำ  Digital Input  การที่เราใช้ Digital Pins ของ Arduino เป็นตัวรับค่าสัญญาณ คือการที่เราให้ Pins นั้นๆ เป็นตัว Input โดยค่าที่ Arduino อ่านได้จะมีอยู่ 2 ค่า คือ HIGH และ LOW ขึ้นอยู่กับ Pin นั้น มีสัญญาณหรือกระแสไฟฟ้าเข้ามาหรือไม่  Pull-up , Pull-Down  เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่จำเป็นต้องรู้ เมื่อเรานำสวิซท์หรือปุ่ม button ต่อเข้ากับ Input Pin ของ Arduino  เราจำเป็นต้องมีตัวต้านทานด้วย  เพราะ Input Pin นั้นๆ จะอ่านค่าได้ไม่แน่นอนว่าค่าที่รับมาเป็น HIGH

งานที่9

รูปภาพ
9-1 #include <Wire.h> #include <LiquidCrystal_I2C.h> LiquidCrystal_I2C lcd(0x27,16,2); void setup() {   lcd.backlight();   lcd.begin();//LiquidCrystal_I2C } void loop() {   lcd.setCursor(0,0);   lcd.print("Hello LCD I2C");   lcd.setCursor(0,1);   lcd.print("Pattayatech"); } 9-2 #include <LiquidCrystal_I2C.h>  LiquidCrystal_I2C lcd(0x27,16,2); int x=48; int y=-79; float z=8.74586;  void setup() { lcd.begin(); } void loop()  {   lcd.setCursor(0,0);   lcd.print("x = ");   lcd.print(x);   lcd.setCursor(8,0);   lcd.print("y = ");   lcd.print(y);   lcd.setCursor(0,1);   lcd.print("z = ");   lcd.print(z,4); }

http://aimagin.com/blog/kmuttproj16_ledrgb_lcd/?lang=th

รูปภาพ
โครงงาน ชุดเปลี่ยนสีหลอดไฟ LED RGB แสดงผลผ่าน LCD August 26, 2014 admin 2 Comments KMUTNB - Mechatronics 56 ,  โปรเจคตัวอย่าง โดย นายอารันต์ มณีอ่อน ( arun_kla@hotmail.com ) สาขาวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Download :  Simulink model File ( KMUTNBproj16_resource.7z  ) Contents  [ show ] หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีเซมิคอนดัคเตอร์ทำให้เทคโนโลยีของ LED มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วตามไปด้วย LED ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเรื่อย ๆ ทั้งในด้านสีของแสงที่เปล่งออกมาไม่ว่าจะเป็นสีแดง,สีเขียว, สีส้ม หรือสีที่ผลิตได้ท้ายสุด และทำให้วงการแอลอีดีพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว คือ สีน้ำเงิน ซึ่งการเกิดขึ้นของสีน้ำเงินนี้ ทำให้ครบแม่สี 3 สี คือ สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน จนเกิดเป็นจุดเริ่มต้นของจอแอลอีดี และแอลอีดีในงานประดับไฟต่างๆ และยังใช้ประโยชน์แพร่หลายมากขึ้นเรื่อย ๆ เช่น ในเครื่องคิดเลข สัญญาณจราจร ไฟท้ายรถยนต์ ป้ายสัญญาณต่าง ๆ เป็นต้น ในการทำโครงงานครั้งนี้ผู้จัดทำได้นำไปประยุกต์ใช้ในการทำโคมไฟ